อาจทำให้การติดเชื้อรุนแรงขึ้น การขาดโปรตีนอาจทำให้ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องและทำงานได้ไม่เต็มที่ หากร่างกายเจ็บป่วยหรือติดเชื้อ อาจทำให้อาการรุนแรงมากขึ้น
สารอาหารโปรตีนมีความจำเป็นอย่างมากในร่างกาย เราสามารถแบ่งปริมาณความต้องการสารอาหารโปรตีนในแต่ละช่วงอายุได้ ดังตารางต่อไปนี้ดังนี้
เนื้อสัตว์ต่างๆ สัตว์ปีก แต่ทางที่ดี คุณไม่ควรรับประทานในส่วนของหนังสัตว์ เพราะเต็มไปด้วยไขมันอิ่มตัวที่อาจสะสม และไม่ดีต่อร่างกาย
>> ฟอสฟอรัสจำเป็นต่อร่างกายอย่างไร มาดูกันค่ะ
ตัวอย่างอาหาร ซึ่งมีโปรตีนอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีดังนี้
นมวัว ไข่ ปลา หอย ถั่วเหลือง ข้าวสาลี ถั่วลิสง ถั่วยืนต้นต่าง ๆ หากสงสัยว่ามีอาการแพ้อาหารเหล่านี้ควรรีบปรึกษาแพทย์
โดยกรดอะมิโนจะรวมตัวเข้ากับไนโตรเจนแล้วเกิดเป็นโปรตีนที่หลากหลายเป็นพันกว่าชนิด ไม่เพียงแต่เป็นหน่วยเล็ก ๆ ที่ประกอบกันจนเป็นโปรตีน
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดย เนตรนภา ปะวะคัง
รู้จัก ไตรกลีเซอไรด์ ไขมันที่ต้องใส่ใจเพื่อสุขภาพที่ดี
ปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับต่อวันตามน้ำหนักตัว
โปรตีนประเภทนม โปรตีน โยเกิร์ต ชีสชนิดไขมันต่ำ หรือนมทางเลือกอื่น ๆ
โปรตีนแม้จะเป็นสารอาหารที่มีประโยชน์มากมายต่อร่างกาย แต่ก็ควรรับประทานโปรตีนให้หลากหลายทั้งโปรตีนจากพืชและจากสัตว์ ร่วมกับการรับประทานสารอาหารประเภทอื่นๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสม
ซูเปอร์ เคลียร์ โปรตีน โปรตีนใส รส เบอร์รี่ บูสตี้
โปรตีนเป็นสารอาหารที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง ช่วยบำรุงกล้ามเนื้อ และซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอ จึงควรรับประทาน อาหารโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัตว์ปีก ปลา ไข่ พืชตระกูลถั่ว เมล็ดพืช นมวัวและผลิตภัณฑ์จากนมวัว ในปริมาณที่เหมาะสมเป็นประจำทุกวัน เพื่อป้องกันภาวะขาดโปรตีนที่อาจทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพตามมาได้ เช่น สูญเสียมวลกล้ามเนื้อ เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย